ระดับคดีและการใช้

อุปกรณ์หน่วยงาน

คดีระดับที่ 1 คดีการทำงานผิดกฎหมาย (จกปูน จกสายไฟ ขายยา เงินแดง)

1.1) รถสำหรับไล่ล่าการทำงานผิดกฎหมาย

1.2) ปืนช็อตไฟฟ้า (Tazer)

1.3) กุญแจมือ


คดีระดับที่ 2 คดีความปลอดภัย ความมั่นคง การทำร้ายร่างกาย

2.1) รถสำหรับไล่ล่าการทำงานผิดกฎหมาย

2.2) ปืนช็อตไฟฟ้า (Tazer)

2.3) ปืนลูกซองยาง (Pumpshotgun)

2.4) ไม้กระบอง (Nightstick) หรืออาวุธส่วนตัวที่ดีกว่าได้


หมายเหตุ

สามารถทำร้ายหน่วยงานได้ เมื่อ ตำรวจ 10 หมอ 10 ขั้นไปเท่านั้น

กรณีช่วยเหลืองานดำ ตำรวจ 5 หมอ 3 ขึ้นไปเท่านั้น

การเข้าพื้นที่

  1. เจ้าหน้าที่จะเปิดไซเรนก่อนเข้าถึงพื้นที่ 500m

1.1) ถ้าอยู่ในพื้นที่อยู่แล้วให้เปิดไซเรนแล้วเข้าพื้นที่ตามปกติ

1.2) ผู้ต้องหาต้องนำยานพาหนะมาทำงานดำด้วย ห้ามมาตัวเปล่าหรือใช้มอเตอร์ไซด์ในการทำงานดำเด็ดขาด

1.3) กรณีผู้ต้องหากจกปูนพลาดและไม่ได้ของ ผู้ต้องหาจะโดนคดีพื้นที่สุ่มเสี่ยง

1.4) กรณีผู้ต้องสงสัยสลบในพื้นที่ทำงานดำ เจ้าหน้าที่สามารถนำตัวไปชุบที่ สน. แล้วทำการค้นตัวได้

การใช้รถหน่วยงานไล่ล่าผู้ต้องหา

2. รถตำรวจหนึ่งคันจะนั่งได้ 2 คนต่อ 1 คัน

-รถ Tier Sport ลงมา ตำรวจไล่ได้ 2 คัน 4 คน

-Tier Supercar รถคราฟ รถกาชา รถโดเนท ไล่ได้ 3 คัน 6 คน


2.2) ไล่ผู้ต้องหาต่อเคส ได้มากสุด ตำรวจ 6 คน รถ 3 คัน

2.3) เจ้าหน้าที่ที่เข้ารับเคสเท่านั้นที่จะสามารถไล่ล่าจับกุมผู้ต้องหาได้

2.4) กรณีเคสอุ้มเจ้าหน้าที่จะใช้รถ ในอนาคต เป็นหลักในการไล่เคส (ใช้รถคันอื่นก็ได้ตามใจเรา)

2.5) เจ้าหน้าที่พบเจอผู้ต้องหาที่ไม่ใช่เคสของตัวเอง สามารถเข้าร่วมเคสนั้นได้ หากจำนวนรถที่ไล่ยังไม่เต็ม


หมายเหตุ

(จกต่อหน้า) พื้นที่ใกล้เคียง เช่นอาคารเดียวกัน


ข้อ 3

3.1) เมื่อผู้ต้องหาขึ้นรถครบทุกคน 10 วินาที แล้วเจ้าหน้าที่ถึงจะเริ่มยิงยางรถได้

3.2) หากผู้ต้องหาขึ้นรถแล้วแต่ยังแช่ ไม่ยอมออกตัวภายใน 10 วินาที เจ้าหน้าที่สามาถยิงยางได้เลย

เจ้าหน้าที่ต้อง ยิงยางให้ครบทั้ง 4 ล้อ ก่อนจึงจะเริ่มชนรถผู้ต้องหาหรือยิงตัวได้


ข้อ 4

4.1) เมื่อยิงครบ 4 ล้อแล้ว ไม่ต้องรอยางบดก็สามารถเริ่มการชนหรือยิงตัวได้ทันที

4.2) หากรถหมดสภาพแล้วผู้ต้องหาไม่ยอมลงรถจะสามารถยิงเทเซอร์ให้ตกรถแล้วจับกุมได้

ถ้ารถผู้ต้องหาติดลงไม่ได้ เช่นบนดาดฟ้าสามารถยิงตัวได้เลย

4.3) เจ้าหน้าที่ไม่สามารถยิงเทเซอร์ใส่ตัวผู้ต้องหาที่ลงวิ่งขณะอยู่บนรถได้ แต่ขับตามแล้วบอกตำแหน่งได้

4.4) เจ้าหน้าที่ที่อยู่บนรถสามารถขับรถขวางทางวิ่งของผู้ต้องหาเพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่ลงวิ่งจับกุมได้

4.5) รถผู้ต้องหาที่ถูกเจ้าหน้าที่สกัดจนไม่สามารถขยับไปไหนได้แล้ว จะต้องลงจากรถใน 5 วินาที

ไม่อย่างนั้นจะสามารถใช้เทเซอร์ยิงให้ตกรถได้

4.6) กรณีผู้ต้องหาทำการหลบหนีลงน้ำ เจ้าหน้าที่สามารถอุ้มเพื่อจับกุมได้ทันที

ถ้าเกิดเหตุสลบหรือตายของผู้ต้องหาไม่สามารถร้องขอลดโทษได้

เพราะปชช.ต้องรับความเสี่ยงในการหลบหนีลงน้ำ

4.7) หากผู้ต้องหาหนีขึ้นที่สูงแล้วถูกยิงจนตกมาสลบ จะไม่รับผิดชอบทุกกรณี

4.8) ถ้าผู้ต้องหาพยายามขับรถหรือจอดนิ่งเพื่อบังล้อ เจ้าหน้าที่เตือนเพื่อให้หยุดการกระทำดังกล่าว

หากเตือนแล้วไม่หยุดการกระทำ เจ้าหน้าที่จะยิงเทเซอร์ตกรถได้ทันที


ข้อ 5 หากผู้ต้องหาต้องการมอบตัว ต้องลงจากรถแล้วแสดงเจตนาในการมอบตัว

5.1) กรณีผู้ต้องหาลงรถที่พังแล้ววิ่งหนี เจ้าหน้าที่จะต้องลงรถเพื่อไล่จับกุม

5.2) เจ้าหน้าที่สามารถลงรถเพื่อล้อมจับผู้ต้องหาจากด้านข้างได้

5.3) เจ้าหน้าที่ที่จะทำการล้อมจับจากด้านข้าง ต้องลงรถก่อนจะเห็นตัวผู้ต้องหาในสายตา

5.4) เจ้าหน้าที่จะทำการ ยิงเทเซอร์ก่อนล็อคมือผู้ต้องหาทุกครั้ง


ข้อ 6 เมื่อมีการชนจากความผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ ผู้ต้องหาสามารถขอซ่อมได้

ถ้าผู้ต้องหาคืนยางไม่ครบ เจ้าหน้าที่สามารถชนรถได้ทันที

6.1) หากมีการชนที่เกิดจากการ Overcontrol จะไม่สามารถขอ Take 2 และขอซ่อมได้

"Over Control = การเหินจากที่สูงลงมาที่ต่ำ หรือ ที่ต่ำขึ้นไปที่สูง

ที่เรียกกันว่า over control หากผู้ต้องหากระทำสิ่งนี้ แล้วพลาด"

6.2) กรณีผู้ต้องหามาชนรถเจ้าหน้าที่เองจะด้วยตั้งใจหรือไม่ จะไม่สามาถขอ Take 2 และขอซ่อมได้

6.3) การตัดหน้า การเบรคกระทันหัน การเหินแล้วชน จะไม่สามารถขอ Take 2 และขอซ่อมได้

6.4) จนกว่าการเจรจาตกลงกันระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้ต้องหาจะจบลง ห้ามทั้งสองฝ่ายซ่อมรถเด็ดขาด

6.5) หากไม่สามารถตกลงกันได้ ผู้ต้องหาต้องเล่นต่อให้จบ แล้วมาร้องเรียนภายหลัง

ถ้าไม่อยากเล่นต่อ ให้มอบตัวเพื่อให้จบ Story การจับกุม

6.6) กรณีการขอ Take 2 ได้ต่อเมื่อยางแตก 3 ล้อ สามารถลงรถเพื่อขอได้ทันที

6.7) หากแตก 4 ล้อแล้วไม่มีการขอแล้วยังมีการขับหนีอยู่จะถือว่าสละสิทธิ์ทันที

6.8) ไม่อนุญาตให้การเล่น Take2 โดยการนำรถไปซ่อมร้านตามจุดต่างๆ

6.9) หากมีการขอ ซ่อม หรือ Take 2 ต้องรอตำรวจเตรียมความพร้อมทุกครั้ง และรอสัญญาณจากตำรวจเพื่อเริ่ม Story การจับกุมต่อ

หากไม่รอสัญญาณ เจ้าหน้าที่ชนรถได้ทันที

บัตร Take 2 - 1 ใบต่อ 2 คน ใช้ได้ 1 เคสเท่านั้น


6.10) หากรถผู้ต้องหาพังจนหมดสภาพขับต่อไม่ได้ ไม่สามารถขอ TAKE 2 ได้

6.11) สามารถขอ Take 2 โดยการจับใบดำใบแดง ในกรณีที่ไม่ได้เตรียมบัตรTake 2 ได้

การหลุดคดี .

ข้อ 7 ผู้ต้องหาจะพ้นคดีก็ต่อเมื่อ พ้นสายตาเจ้าหน้าที่ และเจ้าหน้าที่ปิดไซเรนแล้วจะถือว่าหลุดคดี

ตร.ห้ามดักแลนทุกกรณี แต่สามารถวนหาบริเวณที่หลุดสายตา

7.1) หากเจ้าหน้าที่พบผู้ต้องหาที่ยังไม่พ้นคดีแต่ยังกระทำผิดต่อเนี่อง จะสามารถจับกุมได้เลย

7.2) หากผู้ต้องหาพ้นสายตา เจ้าหน้าที่สามารถเปิดไซเรนขับหาได้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนปิดไซเรน

7.3) กรณีเจ้าหน้าที่พบเจอผู้ต้องหา ที่ยังไม่หลุดคดีกำลังซ่อมรถ สามารถจับกุมได้เลย

บนรถยิงยาง ถ้าจะยิงตัวต้องลงจากรถเท่านั้น

7.4) หากเจ้าหน้าที่ที่เข้าร่วมการจับกุมปิดไซเรนจะถือหลุดคดีทันที


ข้อ 8 หากผู้ต้องหามีเพื่อนมาช่วยหรือเปลี่ยนยานพาหนะ เจ้าหน้าที่สามารถชนรถและยิงตัวคนขับและผู้ต้องหาได้เลย

ถือว่าเป็นคดีระดับ 2

8.1) หากรถผู้ต้องหามีเพื่อนมาช่วย เจ้าหน้าที่สามารถเรียกกำลังเสริมกี่คันก็ได้

8.2) เจ้าหน้าที่ สามารถยิงสกัดผู้ต้องสงสัยเข้าช่วยเหลือได้ ทันที

8.3) หากมีรถผู้ต้องสงสัยเข้าช่วยเหลือผู้ต้องหา เจ้าหน้าที่สามารถยิงยางได้ทันทีและชนรถออกจากพื่นที่ได้ หากมีการเตือนแล้ว


ข้อ 9 กรณีตำรวจยิงพลาดโดนตัวผู้ต้องหาตอนยางไม่ครบ จะต้องรอผู้ต้องหาหายมึน

หรือจะให้ Take 2 เลยขึ้นอยู่กับดุลยิพินิจของเจ้าหน้าที่


ข้อ 10 หากผู้ต้องหาตั้งใจบั้มรถตำรวจ เจ้าหน้าที่สามารถบั้มกลับได้เลย กรณีเดียวกับล้อแตกครบ 4 ล้อแล้ว


ข้อ 11 ถ้าผู้ต้องหาใช้วอขณะโดนล็อคกุญแจมือ เจ้าหน้าที่สามารถยึดวอได้ทันที ไม่มีการไถ่คืน (ยึดถาวร)

11.1) เจ้าหน้าที่สามารถดำเนินคดีหน้างานได้เลยหากผู้ต้องหายินยอม หรือตร.น้อยกว่า 5 นาย

หากมีเคสงานดำจำนวนมาก ก็สามารถดำเนินคดีได้เลย

11.2) หากผู้ต้องหาต้องการประกันตัว เจ้าหน้าที่สามารถประกันตัวผู้ต้องหาหน้างานได้เลย

11.3) หากผู้ต้องหามีคู่คดีที่ต้องเจรจากัน ต้องนำมาดำเนินคดีที่สถานีตำรวจเท่านั้น

11.4) หากเป็น คดีหมู่ ผู้ต้องหามาสามารถ เลือกตัวแทนที่เกี่ยวข้องกันมาดำเนินคดี ได้

(จำนวนคน x ค่าปรับ) แล้วใส่บิลตัวแทน แต่จำคุกแยก


ข้อ 12 เมื่อจับกุมผู้ต้องหาได้ เจ้าหน้าที่จะทำการค้นตัว ค้นรถ ใส่ค่าปรับ จำคุก และพาวน์รถตามลำดับ

12.1) เจ้าหน้าที่จะต้องขออนุญาตค้นตัวก่อน จึงจะค้นตัวได้

12.2) เมื่อยึดของกลางแล้วเจ้าหน้าที่จะใส่บิลค่าปรับพร้อมแจ้งเวลาจำคุก

12.3) หากผู้ต้องหามีประสงค์ที่จะประกันตัว ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เจ้าของคดี

12.4) ค่าใช้จ่ายในการประกันตัวจะต้องใส่ผ่านบิลเท่านั้น


ข้อ 13 หลังจากส่งตัวเข้าเรือนจำแล้ว เจ้าหน้าที่จะพาวน์รถที่ใช้ในการหลบหนี

13.1) ในกรณีเป็นคดีที่ผู้ต้องหาหลบหนีโดยทิ้งยานพาหนะไว้ เจ้าหน้าที่สามารถยึดได้

13.2) ยานพาหนะที่ถูกยึด จะนับว่าเป็นหลักฐานสามารถนำไปประกอบการดำเนินคดีต่อได้


ข้อ 14 หลักฐานทางคดีจะสามารถใช้ได้อยู่ 3 ประเภท ได้แก่

14.1) สายตาของหน่วยงานตำรวจและหมอที่เห็นเหตุการณ์ ในระยะ 100m เท่านั้น

14.2) ภาพถ่ายเหตุการณ์ของผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ โดยในรูปผู้ที่ถ่ายสามารถ f12 ในการเก็บหลักฐานได้ขณะมีชีวิตอยู่

14.3) ภาพถ่ายเหตุการณ์ของผู้เห็นเหตุการณ์ โดยผู้เห็นเหตุการณ์จะต้องถ่ายในระยะ 100m เท่านั้น


ข้อ 15 การทำงานดำ ห้ามหลบหนีตำรวจเข้ามาในพื้นที่ตัวบ้านแก๊ง หรือเรเบล

นับจากการเข้าประตูทุกบานของตัวบ้าน


ข้อ 16 เจ้าหน้าที่สามารถจอดขวางเส้นทางหลบหนีของยาพาหนะได้ โดยเว้นระยะให้ผู้ต้องหามองเห็นก่อนถึงจุด cutoff

เจ้าหน้าที่จะไม่ขวางเส้นทางที่มีทางออกทางเดียว และไม่ขวางกระชั้นชิด


ข้อ 17 การเข้าพื้นที่งานดำ ที่ต้องปีนขึ้นไปหรือมีหลายชั้น(พื้นที่ตึกหลงไหล) หากตำรวจเข้าพื้นที่และเปิดไซเรนแล้ว ต้องออกจากพื้นที่นั้นทันที

หากมีการกระทำผิดในพื้นที่ซ้ำ จะถือว่าเป็นการกระทำผิดซึ่งหน้า

ตำรวจสามารถขึ้นไปจับได้เลย ไม่สามารถอ้างได้ทุกกรณี

กฎการยึดอาวุธ

ข้อ 1 การใช้อาวุธโดยมิชอบต่อหน้าเจ้าหน้าที่จะถูกดำเนินคดีและยึดอาวุธตามลำดับ

1.1) การใช้อาวุธทำร้ายหน่วยงานจะโดนยึดอาวุธทุกกรณีไม่ต้องเปิดเคอร์ฟิว

1.2) การใช้อาวุธทำร้ายกันต่อหน้าเจ้าหน้าที่ หากเตือนแล้วไม่หยุดจะโดนยึดอาวุธทั้งคู่

1.3) การใช้อาวุธทำร้ายผู้อื่น ในขณะที่อีกฝ่ายเก็บแล้วจะโดนยึดอาวุธทุกกรณี

1.4) การใช้อาวุธในพื้นที่หน่วยงานและพื้นที่เซฟโซน ดำเนินคดีและสามารถยึดได้โดยไม่ต้องเปิดเคอร์ฟิว


ข้อ 2 กรณีสตอรี่ที่ขึ้นกับสภาแล้ว เมื่อมีการใช้อาวุธทำร้ายหน่วยงาน จะไม่ยึดอาวุธทุกชนิด รวมถึงกระสุนปืน



ข้อ 3 ผู้ที่ถูกยึดอาวุธสามารถประกันอาวุธได้ โดยจะมีค่าใช้จ่ายขึ้นกับจำนวนวันที่ถูกยึด

กฎการทะเลาะวิวาท

และเคอร์ฟิว

ข้อ 1 เจ้าหน้าที่สามารถเปิดเคอร์ฟิวได้เมื่อพบเห็นเหตุทะเลาะวิวาท เพื่อเข้าระงับในพื้นที่นั้นๆ

1.1) ถ้าหากเป็นสตอรี่ระหว่างแก๊งที่สภาได้ทำการประกาศเข้าควบคุมแล้ว เจ้าหน้าที่จะไม่เข้าทำแทรกแทรง

1.2) หากเป็นเหตุการณ์ต้องสงสัยว่าจะมีการอุ้มกัน เจ้าหน้าที่สามารถรอหน้าเหตุการณ์ได้

1.3) เจ้าหน้าที่สามารถเปิดเคอร์ฟิวได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องรอเจ้าหน้าที่คนอื่น

1.4) ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง ห้ามเข้ามาในเคอร์ฟิวเด็ดขาด หากมีการเสียหายหรือบาดเจ็บจะไม่รับผิดชอบทุกกรณี


ข้อ 2 เมื่อเคอร์ฟิวถูกกาง ทุกคนที่อยู่ในพื้นที่จะต้องหยุดการกระทำใดๆและออกจากพื้นที่ทันที

2.1) เตือนครั้งที่ 1 เจ้าหน้าที่จะทำการประกาศเตือนด้วยวาจา ให้หยุดการกระทำทั้งหมดและออกจากพื้นที่

2.2) เตือนครั้งที่ 2 เจ้าหน้าจะทำการยิงปืนลูกซองยางขึ้นฟ้า ให้หยุดการกระทำทั้งหมดและออกจากพื้นที่

2.3) เตือนครั้งที่ 3 เจ้าหน้าที่จะเริ่มนับถอยหลัง Countdown 10 วินาทีสุดท้าย พร้อมยิงลูกซองยางขึ้นฟ้า

2.4) เตือนครั้งที่ 3เจ้าหน้าที่จะเริ่มจับกุมด้วยการใช้ลูกซองยางยิงตัวผู้ต้องหาแล้วจึงจะใส่กุญแจมือ

2.5) หากมีการทำร้ายร่างกายหน่วยงานขึ้น จะสามารถทำการจับกุมได้ทันที ไม่ต้องรอ คำเตือน

2.6) ผู้ที่สลบอยู่แล้วในพื้นที่เคอร์ฟิวจะนับว่าเป็นการขัดขืนกฎเคอร์ฟิว

2.7) ในเวลา 30 วินาที ผู้เล่นสามารถอุ้มเพื่อนออกจากพื้นที่เคอร์ฟิวได้ เพื่อไม่ให้เป็นการขัดขืนกฎเคอร์ฟิว


ข้อ 3 เมื่อระงับเหตุได้แล้ว เจ้าหน้าที่สามารถดำเนินคดีหน้างานหรือนำไปดำเนินคดีที่ สน. ก็ได้

3.1) เจ้าหน้าที่สามารถนำผู้ต้องหากลับไปดำเนินคดีที่สถานีตำรวจได้ หากเป็นคดีหมู่

3.2) เจ้าหน้าที่สามารถควมคุมตัวผู้ต้องหากลับสถานีตำรวจได้เลย ไม่ต้องรอปิดวงเคอร์ฟิว

เมื่อเหตุการณ์สงบลงแล้ว เจ้าหน้าที่จึงจะปิดเคอร์ฟิวและกลับไปปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ

หมายเรียก

และประกาศจับ

ข้อ 1 ผู้ที่มีประสงค์จะแจ้งความ จะต้องทำการแจ้งความที่สถานีตำรวจเท่านั้น

1.1) หากเนื้อความมีการกล่าวหาบุคคลอื่น เจ้าหน้าที่จะทำการออกหมายเรียกให้

1.2) ผู้ที่ถูกออกหมายเรียกและผู้ที่แจ้งความสามารถใกล่เกลี่ยกันได้

1.3) ห้ามให้การ หรือแจ้งความเท็จ


ข้อ 2 เจ้าหน้าที่จะทำการประกาศหมายเรียก 3 ครั้ง ให้ผู้ที่มีชื่อในหมายเรียกมาติดต่อที่สถานีตำรวจ

2.1) หากผู้ถูกออกหมายเรียกไม่สะดวกในเวลาดังกล่าว (OC) ให้ติดต่อผ่าน DC ตำรวจ

2.2) หลังติดต่อ DC เจ้าหน้าที่ตำรวจจะทำการนัดเวลาในการเรียกตัวใหม่อีกครั้ง


ข้อ 3 หากผู้ที่ถูกออกหมายเรียกไม่มาติดต่อที่สถานี่ตำรวจภายใน 15 นาที จะถูกออกหมายจับ

3.1) ผู้ที่ถูกออกหมายจับ ต้องรายการตัวตอนเข้าและก่อนออกประเทศทุกครั้ง ผ่านทางเเชทตำรวจ

3.3) ถ้าผู้ที่ถูกออกหมายจับเข้าหรือออกประเทศ แต่ไม่รายงานตัว จะถือเป็นการ Breaking Story


ข้อ 4 หมายจับจะมีอายุความเป็นเวลา 3 วัน

4.1) ผู้ต้องหาที่ถูกออกหมายจับจะพ้นคดีก็ต่อเมื่อ หมายจับหมดอายุความ หรือยกเลิกหมายจับ

4.2) กรณีผู้ต้องหาถูกจับกุมจากการก่อคดีอื่นๆ แล้วพบว่าอยู่ในหมายจับ สามารถดำเนินคดีร่วมได้

ความสงบความปลอดภัย

และความมั่นคง

ข้อ 1 ห้ามสวมใส่หน้ากากในพื้นที่หน่วยงาน

1.1) ห้ามแต่งตัวเลียนแบบเจ้าหน้าที่ หรือใช้อุปกรณ์หน่วยงานต่างๆ

การที่แก๊งจะมาคุยเล่นหน้าสน.ต้องถอดชุดแก๊งก่อนทุกครั้ง ยกเว้นมีเรื่องมาติดต่อหรือแจ้งความ


ข้อ 2 ห้ามกระทำการใดๆ ที่ส่งผลเป็นการขัดขวางทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจและแพทย์


ข้อ 3 ห้ามเข้าพื้นที่เฉพาะของหน่วยงานโดยไม่ได้รับอนุญาต จะถือเป็นการบุกรุก

3.1) ห้ามเข้าพื้นที่ชั้นใต้ดินของสถานีตำรวจ

3.2) ห้ามเข้าพื้นที่โรงพยาบาลโดยไม่ได้รับอนุญาต


ข้อ 4 ห้ามเข้าพื้นที่ส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต เช่นการาจแก๊ง บ้านและคอนโด

4.1) หากเป็นการลากจากสตอรี่ จะไม่นับเป็นการบุกรุก

4.2) หน่วยงานมีสิทธิ์เข้าพื้นที่ส่วนบุคคลได้ทันที หากเป็นการปฏิบัติหน้าที่

ทางตำรวจจะทำการเตือนก่อนมีระยะเวลา 5 นาที หากเกิน 5 นาทีแล้วยังไม่ออกจากพื้นที่

จะจับกุมดำเนินคดีทันที หากเป็นกรณีการกระทบกระทั่งกันทั้งสองฝ่าย จะดำเนินการจับกุมทั้งสองฝ่าย


ข้อ 5 ห้ามก่อเหตุไม่สงบ รอบๆพื้นอาคารหน่วยงานและพื้นที่หน่วยงานและเซฟโซน

5.1) นับตั้งแต่ฟุตบาทรอบอาคารสถานีตำรวจและโรงพยาบาล


ข้อ 6 ห้ามก่อเหตุวางเพลิงทรัพย์สินส่วนตัวและทรัพย์สินของหน่วยงานและเซฟโซน

6.1ปล้น ชิง ข่มขู่ กรรโชกและโจรกรรมทรัพย์ ปล้นได้เฉพาะมีสตอรี่เท่านั้น

สตอรี่ปล้นโจรจะต้องแคปรูป ของที่ปล้นมาให้ครบถ้วน


ข้อ 7 สตอรี่ส่วนตัวหรือสตอรี่แก๊ง (ยังไม่เปิดให้ปล้นแบบอิสระ)

7.1) กรณีผู้ต้องหาโดนจับจะต้องคืนของทั้งหมดให้แก่เจ้าทุกข์

7.2) ผู้เสียหายสามารถเรียกค่าเสียหายได้ ในราคาครึ่งหนึ่งของค่าปรับคดีปล้น ชิง ขมขู่และโจรกรรมทรัพย์

7.3) ปล้นใช้ตำรวจ 8 หมอ 8

7.4) ห้ามปล้นหน่วยงาน

***ปล้นได้เฉพาะสตอรี่ที่ผ่านสภาเท่านั้น , โรลโจรห้ามปล้นหน่วยงานเด็ดขาด

7.5) ในพื้นที่เรเบลแดง เมื่อมีเหตุต่อหน้าเจ้าหน้าที่ สามารถเข้าระงับเหตุได้ทันที

***เจ้าหน้าที่จะระงับเหตุเท่านั้น แต่จะไม่ดำเนินคดี


ข้อ 8 การจะนำเฮลิคอปเตอร์ขึ้นใช้จะต้องผ่านการอนุมัติจาก ผบ.ตร. หรือ รองผบ.ตร. เท่านั้น

8.1) เคสอุ้มอำพรางศพ(อุ้มเอ๋อ) สามารถใช้เฮลิคอปเตอร์ได้ 2 ลำ

8.2) เคสที่ผู้ต้องหาหลบหนีลงน้ำ จนรถเจ้าหน้าที่ไม่สามารถตามไปได้ สามารถใช้เฮลิคอปเตอร์ได้ 1 ลำ


ข้อ 9 ห้ามผู้ต้องหาแหกคุก หากเจ้าหน้าที่ตำรวจพบเจอจะสามารถดำเนินการจับกุมได้ทันที

9.1) ผู้ที่ใส่ชุดนักโทษนอกบริเวณเรือนจำ จะถือว่าเป็นผู้ต้องหาที่ทำการแหกคุกทุกกรณี

9.2) เจ้าหน้าที่ตำรวจที่พบเจอผู้ต้องหาแหกคุก จะสามารถจับกุมได้ทันที ไม่มีการเตือน

ใช้เมื่อพบเจอผู้ต้องหาที่ไม่ได้อยู่บนรถ

9.3) ผู้ที่ช่วยเหลือผู้ต้องหาแหกคุก จะมีโทษเทียบเท่ากับผู้ต้องหาที่ถูกช่วยเหลือ

9.4) หากผู้ต้องหาแหกคุกหนีขึ้นรถแล้ว เจ้าหน้าที่สามารถใช้มาตการในการปั้มรถและยิงผู้ต้องหาได้เลย

9.5) หากผู้ต้องหาแหกคุกถูกจับได้ จะโดนดำเนินคดีเดิมบวกกับข้อหาแหกคุกเพิ่มเติม


ข้อ 10 การปล้นเล่น

10.1 ) เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถกระทำการจับกุมได้เลยตามรูปคดี

ค่าปรับ 20,000 จำคุก 30 นาที

พื้นที่คุก

  1. หากก่อเหตุในพื้นที่คุก และจะไม่มีการยึดอาวุธ ( เฉพาะนักโทษเท่านั้น )
  2. กรณีทำร้ายเจ้าหน้าที่ในคุก เจ้าหน้าที่จะยึดอาวุธและตำรวจสามารถใช้กำลังสูงสุดเพื่อปกป้องชีวิตตนเองได้
  3. เมื่อเข้าพื้นที่คุก ทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ จะถูกดำเนินคดีบุกรุกพื้นที่หน่วยงานทุกกรณี

overlay

  1. ถ้าทางถ้าประชาชน อัดหน้าจอ มาแย้งการทำงานของตำรวจต้องให้สิทธิ์สายตา ประชาชน.
  2. ถ้าตำรวจมีคลิปหลักฐานทางฝั่งของตำรวจเช่นกันแล้วเกิดกรณีภาพที่ออกมาไม่ตรงกัน ให้ใช้หลักฐานของตำรวจเป็นหลัก

ประกันเวลา

  1. .ใช้บัตร Unjil เท่านั้น (สามารถหาได้จากการคราฟและกาชากิจกรรมภายในเมือง)
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy